ดร.พิบูลย์ฤทธิ์ วิริยะผล ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยทองคำ แถลงดัชนีความเชื่อมั่นราคาทองคำประจำเดือน มกราคม 2567 ปรับเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับเดือน ธันวาคม 2566 ที่ผ่านมา จากระดับ 64.89 จุด มาอยู่ที่ระดับ 66.90 เพิ่มขึ้น 2.01 จุด หรือคิดเป็น 3.10% โดยปัจจัยที่ทำให้ดัชนีฯ ปรับขึ้นมานั้น มีสาเหตุมาจาก แรงซื้อทองคำจากธนาคารกลางชาติต่าง ๆ ทั่วโลก การอ่อนค่าของสกุลเงินดอลล่าร์สหรัฐฯ นโยบายทางการเงินของธนาคารกลางสหรัฐฯ แรงซื้อช่วงเทศกาล และแรงซื้อจากกองทุน ดัชนีความเชื่อมั่นราคาทองคำในไตรมาสแรกของปี 2567 ปรับลดลงจากไตรมาสที่ 4 ของปี 2566 จากระดับ 53.74 จุด มาอยู่ที่ระดับ 51.65 จุด ลดลง 2.09 จุด หรือคิดเป็น 3.90% โดยดัชนีฯ ที่ปรับลดลงมานั้น มีสาเหตุมาจาก การแข็งค่าของเงินบาท แรงขายเก็งกำไรของกองทุน ความกังวลเรื่องเงินเฟ้อในสหรัฐฯ เริ่มคลี่คลาย ปัญหาของสถาบันการเงินของสหรัฐฯ
Category Archives: ศูนย์วิจัยทองคำ
ดร.พิบูลย์ฤทธิ์ วิริยะผล ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยทองคำ แถลงดัชนีดัชนีความเชื่อมั่นราคาทองคำประจำเดือน ธันวาคม 2566 ปรับเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับเดือน พฤศจิกายน 2566 ที่ผ่านมา จากระดับ 61.79 จุด มาอยู่ที่ระดับ 64.89 เพิ่มขึ้น 3.10 จุด หรือคิดเป็น 5.02% โดยปัจจัยที่ทำให้ดัชนีฯ ปรับขึ้นมานั้น มีสาเหตุมาจากการอ่อนค่าของสกุลเงินดอลลาร์สหรัฐฯ ความต้องการซื้อสินทรัพย์ปลอดภัย และ สถานการณ์ตึงเครียดในตะวันออกกลาง คาดการณ์ความต้องการซื้อทองคำในช่วงเดือน ธันวาคม 2566 จากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 339 ราย ในจำนวนนี้มี 130 ราย หรือเทียบเป็น 39% คาดว่าจะซื้อทองคำ ส่วนจำนวน 113 ราย หรือเทียบเป็น 33% ไม่ซื้อทองคำ และจำนวน 96 ราย หรือเทียบเป็น 28% ไม่แน่ใจว่าจะซื้อทองคำในเดือนนี้หรือไม่ สรุปกลุ่มตัวอย่างที่เป็นผู้ประกอบกิจการค้าทองคำรายใหญ่ และ ผู้ประกอบกิจการนายหน้าซื้อขายสัญญาซื้อขายล่วงหน้าที่อ้างอิงกับราคาทองคำ จำนวน
ดร.พิบูลย์ฤทธิ์ วิริยะผล ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยทองคำ แถลงดัชนีความเชื่อมั่นราคาทองคำประจำเดือน พฤศจิกายน 2566 ปรับเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับเดือน ตุลาคม 2566 ที่ผ่านมา จากระดับ 58.89 จุด มาอยู่ที่ระดับ 61.79 เพิ่มขึ้น 2.90 จุด หรือคิดเป็น 4.93% โดยปัจจัยที่ทำให้ดัชนีฯ ปรับขึ้นมานั้น มีสาเหตุมาจาก ความต้องการซื้อสินทรัพย์ปลอดภัย สถานการณ์ตึงเครียดในตะวันออกกลาง และเงินบาทอ่อนค่าหนุนราคาทองในประเทศ คาดการณ์ความต้องการซื้อทองคำในช่วงเดือน พฤศจิกายน 2566 จากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 348 ราย ในจำนวนนี้มี 189 ราย หรือเทียบเป็น 54% คาดว่าจะซื้อทองคำ ส่วนจำนวน 94 ราย หรือเทียบเป็น 27% ไม่ซื้อทองคำ และจำนวน 65 ราย หรือเทียบเป็น 19% ไม่แน่ใจว่าจะซื้อทองคำในเดือนนี้หรือไม่ สรุปกลุ่มตัวอย่างที่เป็นผู้ประกอบกิจการค้าทองคำรายใหญ่ และ ผู้ประกอบกิจการนายหน้าซื้อขายสัญญาซื้อขายล่วงหน้าที่อ้างอิงกับราคาทองคำ จำนวน
ดร.พิบูลย์ฤทธิ์ วิริยะผล ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยทองคำ แถลงดัชนีความเชื่อมั่นราคาทองคำประจำเดือน ตุลาคม 2566 ปรับเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับเดือน กันยายน 2566 ที่ผ่านมา จากระดับ 57.69 จุด มาอยู่ที่ระดับ 58.89 เพิ่มขึ้น 1.20 จุด หรือคิดเป็น 2.07% โดยปัจจัยที่ทำให้ดัชนีฯ ปรับขึ้นมานั้น มีสาเหตุมาจาก เงินบาทอ่อนค่าหนุนราคาทองในประเทศ นโยบายทางการเงินของธนาคารกลางสหรัฐฯ (FED) ความต้องการซื้อสินทรัพย์ปลอดภัย และความกังวลเศรษฐกิจโลกถดถอย ดัชนีความเชื่อมั่นราคาทองคำระยะสามเดือนในไตรมาสที่ 4 ของปี 2566 ปรับเพิ่มขึ้นจากไตรมาสที่ 3 ของปี 2566 จากระดับ 51.02 จุด มาอยู่ที่ระดับ 53.74 จุด เพิ่มขึ้น 2.72 จุด หรือคิดเป็น 5.34% โดยดัชนีฯ ที่ปรับเพิ่มขึ้นมานั้น มีสาเหตุมาจาก การอ่อนค่าของเงินบาท ความต้องการสินทรัพย์ปลอดภัย และความกังวลเศรษฐกิจโลกถดถอย
ดร.พิบูลย์ฤทธิ์ วิริยะผล ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยทองคำ แถลงดัชนีความเชื่อมั่นราคาทองคำประจำเดือน กันยายน 2566 ปรับเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับเดือน สิงหาคม 2566 ที่ผ่านมา จากระดับ 56.26 จุด มาอยู่ที่ระดับ 57.69 เพิ่มขึ้น 1.43 จุด หรือคิดเป็น 2.55% โดยปัจจัยที่ทำให้ดัชนีฯ ปรับขึ้นมานั้น มีสาเหตุมาจาก เงินบาทอ่อนค่าหนุนราคาทองในประเทศ นโยบายทางการเงินของธนาคารกลางสหรัฐฯ (FED) สถานการณ์การเมืองไทย และความต้องการซื้อสินทรัพย์ปลอดภัย คาดการณ์ความต้องการซื้อทองคำในช่วงเดือน กันยายน 2566 จากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 324 ราย ในจำนวนนี้มี 168 ราย หรือเทียบเป็น 52% ซื้อทองคำ ส่วนจำนวน 96 ราย หรือเทียบเป็น 30% ไม่ซื้อทองคำ และจำนวน 60 ราย หรือเทียบเป็น 18% ไม่แน่ใจว่าจะซื้อทองคำในเดือนนี้หรือไม่ สรุปกลุ่มตัวอย่างที่เป็นผู้ประกอบกิจการค้าทองคำรายใหญ่ และ
ดร.พิบูลย์ฤทธิ์ วิริยะผล ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยทองคำ แถลงดัชนีความเชื่อมั่นราคาทองคำประจำเดือน กันยายน 2566 ปรับเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับเดือน สิงหาคม 2566 ที่ผ่านมา จากระดับ 56.26 จุด มาอยู่ที่ระดับ 57.69 เพิ่มขึ้น 1.43 จุด หรือคิดเป็น 2.55% โดยปัจจัยที่ทำให้ดัชนีฯ ปรับขึ้นมานั้น มีสาเหตุมาจาก เงินบาทอ่อนค่าหนุนราคาทองในประเทศ นโยบายทางการเงินของธนาคารกลางสหรัฐฯ (FED) สถานการณ์การเมืองไทย และความต้องการซื้อสินทรัพย์ปลอดภัย คาดการณ์ความต้องการซื้อทองคำในช่วงเดือน กันยายน 2566 จากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 324 ราย ในจำนวนนี้มี 168 ราย หรือเทียบเป็น 52% ซื้อทองคำ ส่วนจำนวน 96 ราย หรือเทียบเป็น 30% ไม่ซื้อทองคำ และจำนวน 60 ราย หรือเทียบเป็น 18% ไม่แน่ใจว่าจะซื้อทองคำในเดือนนี้หรือไม่ สรุปกลุ่มตัวอย่างที่เป็นผู้ประกอบกิจการค้าทองคำรายใหญ่ และ
ดร.พิบูลย์ฤทธิ์ วิริยะผล ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยทองคำ แถลงดัชนีความเชื่อมั่นราคาทองคำประจำเดือน สิงหาคม 2566 ปรับเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับเดือน กรกฎาคม 2566 ที่ผ่านมา จากระดับ 53.65 จุด มาอยู่ที่ระดับ 56.26 เพิ่มขึ้น 2.61 จุด หรือคิดเป็น 4.87% โดยปัจจัยที่ทำให้ดัชนีฯ ปรับขึ้นมานั้น มีสาเหตุมาจาก นโยบายทางการเงินของธนาคารกลางสหรัฐฯ (FED) ความต้องการซื้อสินทรัพย์ปลอดภัย สถานการณ์การเมืองไทย และเงินบาทอ่อนค่าหนุนราคาทองในประเทศ คาดการณ์ความต้องการซื้อทองคำในช่วงเดือน สิงหาคม 2566 จากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 320 ราย ในจำนวนนี้มี 144 ราย หรือเทียบเป็น 45% ซื้อทองคำ ส่วนจำนวน 96 ราย หรือเทียบเป็น 30% ไม่ซื้อทองคำ และจำนวน 80 ราย หรือเทียบเป็น 25% ไม่แน่ใจว่าจะซื้อทองคำในเดือนนี้หรือไม่ สรุปกลุ่มตัวอย่างที่เป็นผู้ประกอบกิจการค้าทองคำรายใหญ่ และ
ดร.พิบูลย์ฤทธิ์ วิริยะผล ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยทองคำ แถลงดัชนีความเชื่อมั่นราคาทองคำประจำเดือน กรกฎาคม 2566 ปรับลดลงเมื่อเทียบกับเดือน มิถุนายน 2566 ที่ผ่านมา จากระดับ 65.71 จุด มาอยู่ที่ระดับ 53.65 ลดลง 12.06 จุด หรือคิดเป็น 18.36% โดยปัจจัยที่ทำให้ดัชนีฯ ปรับลดลงมานั้น มีสาเหตุมาจาก ความกังวลเรื่องการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยของ FED รายงานตัวเลขทางเศรษฐกิจของสหรัฐฯ ปรับตัวดีขึ้น อัตราผลตอบแทนพันธบัตรสหรัฐฯ ปรับตัวสูงขึ้น การแข็งค่าของเงินบาท และปริมาณความต้องการทองคำที่ลดลง ดัชนีความเชื่อมั่นราคาทองคำระยะสามเดือนในไตรมาสที่ 3 ของปี 2566 ปรับลดลงจากไตรมาสที่ 2 ของปี 2566 จากระดับ 62.70 จุด มาอยู่ที่ระดับ 51.02 จุด ลดลง 11.68 จุด หรือคิดเป็น 18.63% โดยดัชนีฯ ที่ปรับลดลงมานั้น มีสาเหตุมาจาก การแข็งค่าของเงินบาท ความกังวลเรื่องการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยของ
ดร.พิบูลย์ฤทธิ์ วิริยะผล ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยทองคำ แถลงดัชนีความเชื่อมั่นราคาทองคำประจำเดือน มิถุนายน 2566 ปรับเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับเดือน พฤษภาคม 2566 ที่ผ่านมา จากระดับ 65.30 จุด มาอยู่ที่ระดับ 65.71 เพิ่มขึ้น 0.41 จุด หรือคิดเป็น 0.62% โดยปัจจัยที่ทำให้ดัชนีฯ ปรับเพิ่มขึ้นนั้น มีสาเหตุมาจาก ความต้องการซื้อสินทรัพย์ปลอดภัย สถานการณ์การเมืองไทย เงินบาทอ่อนค่าหนุนราคาทองคำในประเทศ ความกังวลเรื่องเงินเฟ้อในสหรัฐฯ และนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางสหรัฐฯ (FED) คาดการณ์ความต้องการซื้อทองคำในช่วงเดือน มิถุนายน 2566 จากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 315 ราย ในจำนวนนี้มี 150 ราย หรือเทียบเป็น 48% ซื้อทองคำ ส่วนจำนวน 135 ราย หรือเทียบเป็น 43% ไม่แน่ใจว่าจะซื้อทองคำในเดือนนี้หรือไม่ และจำนวน 30 ราย หรือเทียบเป็น 9% ไม่ซื้อทองคำ สรุปกลุ่มตัวอย่างที่เป็นผู้ประกอบกิจการค้าทองคำรายใหญ่