ดร.พิบูลย์ฤทธิ์ วิริยะผล ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยทองคำ แถลงดัชนีความเชื่อมั่นราคาทองคำประจำเดือน กันยายน 2566 ปรับเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับเดือน สิงหาคม 2566 ที่ผ่านมา จากระดับ 56.26 จุด มาอยู่ที่ระดับ 57.69 เพิ่มขึ้น 1.43 จุด หรือคิดเป็น 2.55% โดยปัจจัยที่ทำให้ดัชนีฯ ปรับขึ้นมานั้น มีสาเหตุมาจาก เงินบาทอ่อนค่าหนุนราคาทองในประเทศ นโยบายทางการเงินของธนาคารกลางสหรัฐฯ (FED) สถานการณ์การเมืองไทย และความต้องการซื้อสินทรัพย์ปลอดภัย คาดการณ์ความต้องการซื้อทองคำในช่วงเดือน กันยายน 2566 จากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 324 ราย ในจำนวนนี้มี 168 ราย หรือเทียบเป็น 52% ซื้อทองคำ ส่วนจำนวน 96 ราย หรือเทียบเป็น 30% ไม่ซื้อทองคำ และจำนวน 60 ราย หรือเทียบเป็น 18% ไม่แน่ใจว่าจะซื้อทองคำในเดือนนี้หรือไม่ สรุปกลุ่มตัวอย่างที่เป็นผู้ประกอบกิจการค้าทองคำรายใหญ่ และ
Tag Archives: ศูนย์วิจัยทองคำ
ดร.พิบูลย์ฤทธิ์ วิริยะผล ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยทองคำ แถลงดัชนีความเชื่อมั่นราคาทองคำประจำเดือน สิงหาคม 2566 ปรับเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับเดือน กรกฎาคม 2566 ที่ผ่านมา จากระดับ 53.65 จุด มาอยู่ที่ระดับ 56.26 เพิ่มขึ้น 2.61 จุด หรือคิดเป็น 4.87% โดยปัจจัยที่ทำให้ดัชนีฯ ปรับขึ้นมานั้น มีสาเหตุมาจาก นโยบายทางการเงินของธนาคารกลางสหรัฐฯ (FED) ความต้องการซื้อสินทรัพย์ปลอดภัย สถานการณ์การเมืองไทย และเงินบาทอ่อนค่าหนุนราคาทองในประเทศ คาดการณ์ความต้องการซื้อทองคำในช่วงเดือน สิงหาคม 2566 จากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 320 ราย ในจำนวนนี้มี 144 ราย หรือเทียบเป็น 45% ซื้อทองคำ ส่วนจำนวน 96 ราย หรือเทียบเป็น 30% ไม่ซื้อทองคำ และจำนวน 80 ราย หรือเทียบเป็น 25% ไม่แน่ใจว่าจะซื้อทองคำในเดือนนี้หรือไม่ สรุปกลุ่มตัวอย่างที่เป็นผู้ประกอบกิจการค้าทองคำรายใหญ่ และ
ดร.พิบูลย์ฤทธิ์ วิริยะผล ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยทองคำ แถลงดัชนีความเชื่อมั่นราคาทองคำประจำเดือน กรกฎาคม 2566 ปรับลดลงเมื่อเทียบกับเดือน มิถุนายน 2566 ที่ผ่านมา จากระดับ 65.71 จุด มาอยู่ที่ระดับ 53.65 ลดลง 12.06 จุด หรือคิดเป็น 18.36% โดยปัจจัยที่ทำให้ดัชนีฯ ปรับลดลงมานั้น มีสาเหตุมาจาก ความกังวลเรื่องการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยของ FED รายงานตัวเลขทางเศรษฐกิจของสหรัฐฯ ปรับตัวดีขึ้น อัตราผลตอบแทนพันธบัตรสหรัฐฯ ปรับตัวสูงขึ้น การแข็งค่าของเงินบาท และปริมาณความต้องการทองคำที่ลดลง ดัชนีความเชื่อมั่นราคาทองคำระยะสามเดือนในไตรมาสที่ 3 ของปี 2566 ปรับลดลงจากไตรมาสที่ 2 ของปี 2566 จากระดับ 62.70 จุด มาอยู่ที่ระดับ 51.02 จุด ลดลง 11.68 จุด หรือคิดเป็น 18.63% โดยดัชนีฯ ที่ปรับลดลงมานั้น มีสาเหตุมาจาก การแข็งค่าของเงินบาท ความกังวลเรื่องการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยของ
ดร.พิบูลย์ฤทธิ์ วิริยะผล ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยทองคำ แถลงดัชนีความเชื่อมั่นราคาทองคำประจำเดือน มิถุนายน 2566 ปรับเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับเดือน พฤษภาคม 2566 ที่ผ่านมา จากระดับ 65.30 จุด มาอยู่ที่ระดับ 65.71 เพิ่มขึ้น 0.41 จุด หรือคิดเป็น 0.62% โดยปัจจัยที่ทำให้ดัชนีฯ ปรับเพิ่มขึ้นนั้น มีสาเหตุมาจาก ความต้องการซื้อสินทรัพย์ปลอดภัย สถานการณ์การเมืองไทย เงินบาทอ่อนค่าหนุนราคาทองคำในประเทศ ความกังวลเรื่องเงินเฟ้อในสหรัฐฯ และนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางสหรัฐฯ (FED) คาดการณ์ความต้องการซื้อทองคำในช่วงเดือน มิถุนายน 2566 จากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 315 ราย ในจำนวนนี้มี 150 ราย หรือเทียบเป็น 48% ซื้อทองคำ ส่วนจำนวน 135 ราย หรือเทียบเป็น 43% ไม่แน่ใจว่าจะซื้อทองคำในเดือนนี้หรือไม่ และจำนวน 30 ราย หรือเทียบเป็น 9% ไม่ซื้อทองคำ สรุปกลุ่มตัวอย่างที่เป็นผู้ประกอบกิจการค้าทองคำรายใหญ่
ดร.พิบูลย์ฤทธิ์ วิริยะผล ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยทองคำ แถลงดัชนีความเชื่อมั่นราคาทองคำประจำเดือน พฤษภาคม 2566 ปรับเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับเดือน เมษายน 2566 ที่ผ่านมา จากระดับ 65.14 จุด มาอยู่ที่ระดับ 65.30 เพิ่มขึ้น 0.16 จุด หรือคิดเป็น 0.24% โดยปัจจัยที่ทำให้ดัชนีฯ ปรับเพิ่มขึ้นนั้น มีสาเหตุมาจาก ความต้องการซื้อสินทรัพย์ปลอดภัย ความกังวลเรื่องเงินเฟ้อในสหรัฐฯ สถานการณ์สถาบันการเงินของสหรัฐฯ ความกังวลเศรษฐกิจโลกถดถอย และนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางสหรัฐฯ (FED) คาดการณ์ความต้องการซื้อทองคำในช่วงเดือน พฤษภาคม 2566 จากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 369 ราย ในจำนวนนี้มี 135 ราย หรือเทียบเป็น 37% ไม่แน่ใจว่าจะซื้อทองคำในเดือนนี้หรือไม่ ส่วนจำนวน 126 ราย หรือเทียบเป็น 34% ไม่ซื้อทองคำ และจำนวน 108 ราย หรือเทียบเป็น 29% ซื้อทองคำ สรุปกลุ่มตัวอย่างที่เป็นผู้ประกอบกิจการค้าทองคำรายใหญ่
ดร.พิบูลย์ฤทธิ์ วิริยะผล ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยทองคำ แถลงดัชนีความเชื่อมั่นราคาทองคำประจำเดือน เมษายน 2566 ปรับเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับเดือน มีนาคม 2566 ที่ผ่านมา จากระดับ 64.01 จุด มาอยู่ที่ระดับ 65.14 เพิ่มขึ้น 1.13 จุด หรือคิดเป็น 1.77% โดยปัจจัยที่ทำให้ดัชนีฯ ปรับเพิ่มขึ้นนั้น มีสาเหตุมาจาก สถานการณ์สถาบันการเงินของสหรัฐฯ การอ่อนค่าของเงินดอลลาร์ ความต้องการซื้อสินทรัพย์ปลอดภัย และความกังวลเศรษฐกิจโลกถดถอย ดัชนีความเชื่อมั่นราคาทองคำระยะสามเดือนในไตรมาสที่ 2 ของปี 2566 ปรับเพิ่มขึ้นจากไตรมาสแรก จากระดับ 61.96 จุด มาอยู่ที่ระดับ 62.70 จุด เพิ่มขึ้น 0.74 จุด หรือคิดเป็น 1.19% โดยดัชนีฯ ที่ปรับเพิ่มขึ้นมานั้น มีสาเหตุมาจาก ความต้องการซื้อสินทรัพย์ปลอดภัย ความกังวลเศรษฐกิจโลกถดถอย และความต้องการทองคำของธนาคารกลางประเทศต่าง ๆ คาดการณ์ความต้องการซื้อทองคำในช่วงเดือน เมษายน 2566
ดร.พิบูลย์ฤทธิ์ วิริยะผล ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยทองคำ แถลงดัชนีความเชื่อมั่นราคาทองคำประจำเดือน มีนาคม 2566 ปรับเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับเดือน กุมภาพันธ์ ที่ผ่านมา จากระดับ 63.35 จุด มาอยู่ที่ระดับ 64.01 เพิ่มขึ้น 0.66 จุด หรือคิดเป็น 1.05% โดยปัจจัยที่ทำให้ดัชนีฯ ปรับเพิ่มขึ้นนั้น มีสาเหตุมาจาก ความต้องการซื้อสินทรัพย์ปลอดภัย เงินบาทอ่อนค่าหนุนราคาทองคำในประเทศ ความกังวลเรื่องเงินเฟ้อในสหรัฐฯ แรงซื้อเก็งกำไร และความกังวลเศรษฐกิจโลกถดถอย คาดการณ์ความต้องการซื้อทองคำในช่วงเดือน มีนาคม 2566 จากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 300 ราย ในจำนวนนี้มี 130 ราย หรือเทียบเป็น 43% ไม่แน่ใจว่าจะซื้อทองคำในเดือนนี้หรือไม่ ส่วนจำนวน 120 ราย หรือเทียบเป็น 40% ซื้อทองคำ และจำนวน 50 ราย หรือเทียบเป็น 17% ไม่ซื้อทองคำ สรุปกลุ่มตัวอย่างที่เป็นผู้ประกอบกิจการค้าทองคำรายใหญ่ และ ผู้ประกอบกิจการนายหน้าซื้อขายสัญญาซื้อขายล่วงหน้าที่อ้างอิงกับราคาทองคำ
ดร.พิบูลย์ฤทธิ์ วิริยะผล ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยทองคำ แถลงดัชนีความเชื่อมั่นราคาทองคำประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2566 ปรับลดลงเล็กน้อยเมื่อเทียบกับเดือน มกราคม 2566 ที่ผ่านมา จากระดับ 64.99 จุด มาอยู่ที่ระดับ 63.35 ลดลง 1.64 จุด หรือคิดเป็น 2.52% โดยปัจจัยที่ทำให้ดัชนีฯ ปรับลดลงมานั้น มีสาเหตุมาจาก ความกังวลเรื่องการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลางสหรัฐฯ (FED) กระแสเงินทุนไหลเข้าสินทรัพย์เสี่ยงมากขึ้น ตัวเลขทางเศรษฐกิจของสหรัฐฯ ปรับตัวดีขึ้น และเศรษฐกิจโลกส่งสัญญาณการฟื้นตัว คาดการณ์ความต้องการซื้อทองคำในช่วงเดือน กุมภาพันธ์ 2566 จากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 330 ราย ในจำนวนนี้มี 130 ราย หรือเทียบเป็น 40% ไม่แน่ใจว่าจะซื้อทองคำในเดือนนี้หรือไม่ ส่วนจำนวน 110 ราย หรือเทียบเป็น 33% ไม่ซื้อทองคำ และจำนวน 90 ราย หรือเทียบเป็น 27% จะซื้อทองคำ สรุปกลุ่มตัวอย่างที่เป็นผู้ประกอบกิจการค้าทองคำรายใหญ่
ดร.พิบูลย์ฤทธิ์ วิริยะผล ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยทองคำ แถลงดัชนีความเชื่อมั่นราคาทองคำประจำเดือน มกราคม 2566 ปรับเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับเดือน ธันวาคม 2565 ที่ผ่านมา จากระดับ 58.36 จุด มาอยู่ที่ระดับ 64.99 เพิ่มขึ้น 6.63 จุด หรือคิดเป็น 11.36% โดยปัจจัยที่ทำให้ดัชนีฯ ปรับเพิ่มขึ้นมานั้น มีสาเหตุมาจาก ความต้องการซื้อสินทรัพย์ปลอดภัย นโยบายทางการเงินของธนาคารกลางสหรัฐฯ (FED) แรงซื้อเก็งกำไร และความกังวลเศรษฐกิจโลกถดถอย ตามลำดับ ดัชนีความเชื่อมั่นราคาทองคำระยะสามเดือนในไตรมาสแรกของปี 2566 ปรับเพิ่มขึ้นจากไตรมาสที่ 4 ของปี 2565 จากระดับ 50.80 จุด มาอยู่ที่ระดับ 61.96 จุด เพิ่มขึ้น 11.16 จุด หรือคิดเป็น 21.97% โดยดัชนีฯ ที่ปรับเพิ่มขึ้นมานั้น มีสาเหตุมาจาก เงินทุนไหลออกจากสกุลเงินดอลล่าร์สหรัฐฯ ภาวะเงินเฟ้อ แรงซื้อช่วงเทศกาล และทิศทางราคาน้ำมัน
ดร.พิบูลย์ฤทธิ์ วิริยะผล ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยทองคำ แถลงดัชนีความเชื่อมั่นราคาทองคำประจำเดือน มีนาคม 2565 ปรับเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับเดือน กุมภาพันธ์ 2565 ที่ผ่านมา จากระดับ 70.14 จุด มาอยู่ที่ระดับ 76.20 จุด เพิ่มขึ้น 6.06 จุด หรือคิดเป็น 8.64% โดยปัจจัยที่ทำให้ดัชนีฯ ปรับเพิ่มขึ้นมา เนื่องจากสถานการณ์ความขัดแย้งระหว่างรัสเซีย-ยูเครน ราคาน้ำมัน ความต้องการซื้อสินทรัพย์ปลอดภัย ความกังวลเรื่องเงินเฟ้อในสหรัฐฯ และ แรงซื้อเก็งกำไร คาดการณ์ความต้องการซื้อทองคำในช่วงเดือน มีนาคม 2565 จากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 315 ตัวอย่าง พบว่า 41% จะซื้อทองคำในเดือนนี้ ขณะที่ 30% ไม่แน่ใจว่าจะซื้อทองคำ หรือไม่ และอีก 29% ยังไม่ซื้อทองคำ สรุปกลุ่มตัวอย่างที่เป็นผู้ประกอบกิจการค้าทองคำรายใหญ่และผู้ประกอบกิจการนายหน้าซื้อขายสัญญาซื้อขายล่วงหน้าที่อ้างอิงกับราคาทองคำ จำนวน 13 ตัวอย่าง โดยส่วนใหญ่เชื่อว่าราคาทองคำในเดือน มีนาคม 2565 จะเพิ่มขึ้น มีจำนวน 8 ราย และคาดว่าใกล้เคียงกับราคาทองคำในเดือน กุมภาพันธ์ 2565 มีจำนวน 3